NEW STEP BY STEP MAP FOR ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

New Step by Step Map For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

New Step by Step Map For ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

'สุรพงษ์' เล็งหารือ ก.คลัง ปรับโครงสร้างหนี้การรถไฟฯ หวังหลุดขาดทุนสะสม

ทุนพัฒนาอาชีพและนวัตกรรมที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน

นี่ไม่ใช่ประโยคที่พูดขึ้นมาลอยๆ แต่เป็นประโยคหรือแนวทางที่เกิดขึ้นจากวิเคราะห์ประเมินจากการปฏิรูปการศึกษาในรอบสองทศวรรษที่ผ่านมา ที่เน้นไปในเรื่องของการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้าง ขณะที่ระบบระเบียบราชการไม่เอื้อต่อการขับเคลื่อนงานด้านการศึกษาในพื้นที่เท่าที่ควร

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Other uncategorized cookies are people who are increasingly being analyzed and possess not been classified right into a classification as yet. Help save & Settle for

ปัจจุบันสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาหลายแห่งมีการเปิดรับนักศึกษาเป็นจำนวนมาก และเริ่มดำเนินการจัดการระบบคล้ายกับการประกอบธุรกิจ กล่าวคือมีสถาบันทางการศึกษาเป็นผู้ให้บริการ ในขณะที่นักเรียน หรือนักศึกษาเปรียบเสมือนกลุ่มลูกค้าที่เข้ามารับบริการ จึงทำให้สถาบันในระดับอุดมศึกษาหลายแห่งรับนักศึกษาโดยเน้นปริมาณของจำนวนนักศึกษามากกว่าการคำนึงถึงคุณภาพทางด้านการศึกษา โดยในบางสาขาที่เป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานกลับมีอัตรารับเข้าเรียนที่น้อย

นอกจากนี้ เพื่อให้ได้ผลการสอบที่น่าพึงพอใจ ทำให้นักเรียน หรือผู้ปกครองหลายคน จำเป็นต้องเสียเงินจำนวนมากเพื่อเรียนพิเศษเพิ่มเติม สิ่งนี้เองทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา สืบเนื่องจากความไม่เท่าเทียมกันในด้านฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว จึงทำให้การเข้าถึงการศึกษาของนักเรียนไทยแตกต่างกัน 

ผลลัพธ์คือเงื่อนไขด้านสภาพที่อยู่อาศัยสามารถคัดกรองนักเรียนยากจนได้มากที่สุดดังคาด แต่การเก็บข้อมูลดังกล่าว จำเป็นต้องถ่ายภาพประกอบ จึงเกิดปัญหาเรื่องการเดินทางไปเยี่ยมบ้านนักเรียน โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกลหรือบนเขาบนดอยนั้นมีความยากลำบาก และน่ากังวลเรื่องความปลอดภัยของครู อีกทั้งบางกรณี สภาพบ้านอาจไม่สามารถสะท้อนความยากจนของตัวนักเรียนได้ เพราะมีนักเรียนบางกลุ่มอาศัยกับญาติที่มีบ้านหลังใหญ่โต หรือมีปัจจัยด้านวัฒนธรรมอย่างชนเผ่าม้งที่นิยมสร้างบ้านด้วยไม้ไผ่และวัสดุธรรมชาติ ทำให้แม้สอดคล้องกับเงื่อนไข แต่ไม่ได้มีสถานะยากจนจริง

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

ด้วยนักเรียนที่โรงเรียนเป็นเด็กชาติพันธุ์การใช้ภาษาไทยส่วนใหญ่จะอยู่ที่โรงเรียนเป็นหลัก พอกลับบ้านเด็ก ๆ จะแทบไม่ได้ใช้ภาษาไทย และยิ่งช่วงโควิดประกาศปิดการเรียนการสอน ทำให้ไม่สามารถมาเรียนได้และด้วยข้อจำกัดในการสื่อสารการเรียนการสอนออนไลน์ตัดขาดไปโดยปริยาย แต่ยังมีความโชคดีที่มีสื่อการเรียนการสอนพระราชทานในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า ฯ  เป็นสื่อการเรียนการสอน-แบบฝึกหัดแบบออฟ-ไลน์ พกติดไปเวลาเยี่ยมบ้านพร้อมแบบฝึกหัดภาษาไทยเพื่อให้เด็กใช้ทบทวนและเรียนรู้ และในทุก ๆ สัปดาห์ครูอุ้ยจะเข้าไปเก็บกลับเพื่อตรวจการบ้านและนำชุดการเรียนรู้และแบบฝึกหัดชุดใหม่ไปให้เด็ก ๆ ทบทวน เพื่อเตรียมความพร้อมหากพ้นช่วงสถานการณ์โควิดแล้ว เด็ก ๆ ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา จะไม่ลืมภาษาไทยที่เป็นภาษาหลักที่ใช้สื่อสารในโรงเรียน 

ดร.ศุภโชค ปิยะสันต์ ที่ปรึกษาเครือข่ายชมรมนักจัดการศึกษาบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร กล่าวถึงความกังวลเกี่ยวกับแนวโน้มโรงเรียนขนาดเล็กที่กำลังจะเพิ่มจำนวนขึ้น แต่รูปแบบงบประมาณยังไม่เปลี่ยนแปลง

โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาสําหรับนักเรียนในพืนที่ห่างไกลเป็นครูรุ่นใหม่เพือพัฒนาคุณภาพโรงเรียนของชุมชน (ครูรัก(ษ์)ถิ่น)

ดร.ศุภโชคยังชี้ให้เห็นปัญหาเรื่องคน งบประมาณ และกลไกท้องถิ่น โดยเสนอแนวทางแก้ไขควบคู่กันไป ดังนี้

โอกาสในการได้เรียนชั้นที่สูงขึ้น ตัวอย่างในตำบลไล่โว่ มีประเภทการศึกษาสูงที่สุดคือมัธยมศึกษาตอนต้น ไม่มีมัธยมศึกษาตอนปลาย แปลว่าเด็กที่ยากจนมีโอกาสเข้าถึงเพียงการศึกษาภาคบังคับ แต่ไปไม่ถึงระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เด็กกลุ่มนี้ต้องใช้ความพยายามมากกว่าคนอื่นๆ เพื่อเข้าถึงการศึกษาระดับสูง อาจต้องย้ายไปเรียนไกลบ้านยิ่งขึ้น เพราะพื้นที่ของตนเองไม่มีโรงเรียนคอยรองรับ ในช่วงท้ายของการนำเสนองานศึกษา ดร.

Report this page